Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatsaphol NUNTANITTIen
dc.contributorวัศพล นันทนิตติth
dc.contributor.advisorLikit Kittisakdinanen
dc.contributor.advisorลิขิต กิตติศักดินันท์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2023-08-11T02:53:38Z-
dc.date.available2023-08-11T02:53:38Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued4/7/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4655-
dc.description.abstractReleasing large amounts of carbon dioxide into the Earth's atmosphere since the past until present has led to severe consequences of climate change, which will impact the future. This has resulted in serious problems regarding water, food, and human habitation. Research has shown that the continent most affected by climate change is Africa, as it has additional factors that trigger more severe impacts than other continents, such as economic, social, and political factors. This study, therefore, focuses on the African continent, particularly on four countries: Ethiopia, Senegal, Madagascar, and Chad. The aim of the research is to study and create guidelines for designing architecture in the most extreme environmental conditions that deviate from the present in order to help future generations. Besides protecting humans from climate conditions, architecture should also function as a tool to support human life without depending on complex systems that are inaccessible to certain groups of people. The research has experimented with designing both place and context models in the four African countries, which covered the problems that humans will encounter due to climate change in the future. Initial studies have found that ultimately, the problems of global warming and climate change have spread worldwide, and the closest country to us is Thailand. Although it may not be as severe as Africa, it has the same underlying problem. It is hoped that the approach and research presented in this article will help humans cope and potentially survive the urgencies of extreme environments.en
dc.description.abstractการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ชั้นบรรยากาศของมนุษย์เป็นจำนวนมากตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันส่งผลให้ในอนาคตเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง นำมาซึ่งเรื่องปัญหาแร้นแค้นขาดแคลนน้ำดื่ม, อาหาร และแหล่งที่อยู่อาศัยพื้นฐานสำหรับมนุษย์ จากผลวิจัยได้ระบุบ่งชี้ว่าทวีปแอฟริกาจะเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงโดดเด่นครอบคลุมทุกจำพวกของปัญหาซึ่งเป็นผลมาจากอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลกในขณะนี้ รวมทั้งยังมีปัจจัยเสริมซ้อนทับและปัญหาเรื้อรังอื่น ๆ อันเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดความฉุกเฉินจากผลกระทบที่มีต่อประชากรมากกว่าทวีปอื่นใดในโลก ไม่ว่าจะเป็นภัยจากสภาพเศรษฐกิจ, จากสภาพสังคม, และจากสภาพการเมือง เป็นต้น โดยงานวิจัยชิ้นนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ทวีปแอฟริกา เพื่อนำมาศึกษาและสร้างแนวทางในการออกแบบสถาปัตยกรรมในสภาวะแวดล้อมที่สุดขั้วที่ผิดแปลกไปจากปัจจุบันเพื่อช่วยเหลือ มนุษย์ในอนาคต โดยนอกจากการปกป้องมนุษย์จากสภาพอากาศแล้ว สถาปัตยกรรมต้องเป็นเครื่องมือที่ช่วยเยียวยาและพยุงชีพของมนุษย์ โดยสถาปัตยกรรมต้องอยู่ได้ด้วยตัวเองโดยไม่พึ่งพาระบบเชิงเทคนิคจักรกล เอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่มคนเฉพาะกลุ่มเท่านั้น ที่ยากจะเข้าถึงและซับซ้อนในการปฏิบัติ ดำเนินการ ขั้นตอนของงานวิจัยชุดนี้เลือกสถานที่และสร้างสถานการณ์จำลอง จากประเทศในทวีปแอฟริกา ดังต่อไปนี้  เอธิโอเปีย, เซเนกัล, มาดากัสการ์ และ ชาด โดยเนื้อหาจากการวิจัยสำหรับ 4 ประเทศนี้เสมือนเป็นตัวแทนอันครอบคลุมถึงปัญหาของมนุษย์ทั้งโลก ที่กำลังประสบกับสภาวะรุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลกในขณะนี้และต่อไปในอนาคตอันใกล้ การศึกษาในเบื้องต้นพบว่าท้ายสุดแล้วปัญหาโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้กระจายไปทั่วโลก และใกล้ตัวเราที่สุดแล้วคือประเทศไทย ถึงแม้อาจจะไม่รุนแรงเท่ากับทวีปแอฟริกา แต่ที่มาของสาเหตุมาจากต้นตอเดียวกัน ได้แก่ปัญหาจากแหล่งน้ำและอาหาร, ปัญหาต่ออุณหภูมิความร้อน และปัญหาต่อแหล่งที่อยู่อาศัยของมนุษย์ มีแนวทางออกแบบคือการพัฒนาหน่วยของเปลือกอาคารที่ช่วยในการป้องกันสภาพอากาศ และมีส่วนช่วยพยุงชีพมนุษย์ และเยียวยาสภาวะแวดล้อมโดยสิ่งที่สำคัญที่สุดนั้นคือ ความชื้นและน้ำ โดยเปลือกของอาคารและหน่วยของอาคารนั้นจะต้องสามารถ ผลิตหรือกักเก็บน้ำและความชื้นได้ โดยหวังอย่างยิ่งว่าแนวทางและงานวิจัยฉบับนี้จะเป็นตัวช่วยมนุษย์ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ท่ามกลางสภาวะแวดล้อมสุดขั้วในมุมมองที่กว้างทั่วทั้งโลกได้  th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ สภาวะแวดล้อมสุดขั้ว แอฟริกาth
dc.subjectGlobal warming Climate change Extreme environmental Conditions Africaen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationConstructionen
dc.subject.classificationArchitecture and town planningen
dc.titleExtreme Environments, the Architectural Solutions in Africa.en
dc.titleสภาวะแวดล้อมสุดขั้ว, แบบฉบับสถาปัตยกรรมในแอฟริกา th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorLikit Kittisakdinanen
dc.contributor.coadvisorลิขิต กิตติศักดินันท์th
dc.contributor.emailadvisorqmailu@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorqmailu@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Architecture (M.Arch)en
dc.description.degreenameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineArchitectureen
dc.description.degreedisciplineสถาปัตยกรรมth
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640220006.pdf19.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.