Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4824
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Waraporn SAMPAO | en |
dc.contributor | วราภรณ์ สำเภา | th |
dc.contributor.advisor | Anucha Pangkesorn | en |
dc.contributor.advisor | อนุชา แพ่งเกษร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-12T05:50:07Z | - |
dc.date.available | 2024-02-12T05:50:07Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 24/11/2023 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4824 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were; 1) to study Muslim women's halal dress culture, 2) to study Muslim women's dress culture and religious principles relating to fashion design, and 3) to design Muslim women's fashion that respects current religious beliefs. This development research employed a mixed method for data collection. The qualitative research was conducted through interviews with a sample population of religious leaders, Muslim scholars, designers, and 400 female Muslim consumers in Bangkok. The collected data on the needs and preferences of Muslim women were analyzed and together with fashion design principles, they determined the guidelines and theories for designing Muslim women's fashion. The findings revealed that 1) Muslim women's halal dress culture is following religious principles and is regarded as a valuable aspect of beauty and virtue, and according to religious principles, the charm of concealment helps prevent harm, 2) Muslim women's current lifestyle culture focuses on simple dress styles which must be adaptable to several occasions. The shape of the dress must be loose without emphasizing body proportions, the design must be contemporary, the color scheme must either be the same tone for the entire dress or of non-contrasting colors, and must be adorned by signs of Muslim art and culture, and 3) the design of Muslim women's fashion which conforms to current religious beliefs resulted in the creation of shirts, pants, skirts, and dresses. The designs considered daily activities such as the type of work and the use of public transportation. It can be concluded that Muslim women’s fashion designs respecting current religious beliefs can be perceived as beautiful and its concealing nature ensures a woman's safety. The research discovered new knowledge of halal factors which designers can apply to design Muslim wear for others. From the study findings, there is room for further research because the research’s sample population consisting of a specific age group provided only their consumer behavior. Additionally, the result from studying Muslim adornments indicated that documenting this traditional knowledge could preserve this valuable resource for contemporary applications. Furthermore, future comparative research should be conducted in other regions in Thailand to compare factors influencing changes in Muslim women's dress styles across various geographical areas. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีมุสลิมในบริบท ฮาลาล 2) ศึกษาการแต่งกายของสตรีมุสลิมที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายเพื่อนำมากำหนดแนวทางการออกแบบแฟชั่น 3) ออกแบบแฟชั่น การแต่งกายของสตรีมุสลิม ผ่านมุมมองการดำรงอยู่ของความศรัทธาและความงามในบริบทปัจจุบัน โดยดำเนินการในรูปแบบการวิจัยและพัฒนา โดยวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์จากกลุ่มประชากรตัวอย่าง ได้แก่ ผู้นำศาสนา นักวิชาการมุสลิม นักออกแบบ และสตรีมุสลิมที่เป็นตัวแทนของผู้บริโภค รวมไปถึงการเก็บข้อมูลพฤติกรรมการบริโภคของสตรีมุสลิม ที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ราย เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ ร่วมกับกระบวนการออกแบบเครื่องแต่งกายในรูปแบบที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นสตรีมุสลิม และเพื่อให้ได้แนวทางและทฤษฎีการออกแบบเครื่องแต่งกายของสตรีมุสลิม ผลการศึกษาพบว่า 1) วัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีมุสลิมในบริบทฮาลาล การแต่งกายจะเป็นรูปแบบที่สอดคล้องกับหลักศาสนาเป็นความงามในบริบทฮาลาล งามแบบมีคุณค่าและความดีงาม เป็นเสน่ห์แห่งการปกปิด คือ การปกปิดเอาเราะฮ์ให้ถูกต้องตามหลักการศาสนา 2) จากการศึกษาการแต่งกายของสตรีมุสลิมที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายเพื่อนำมากำหนดแนวทางการออกแบบแฟชั่น การดำเนินชีวิตของสตรีมุสลิมจากวัฒนธรรมและความร่วมสมัยในปัจจุบัน เน้นความเรียบง่าย รูปแบบเสื้อผ้าต้องมีลักษณะที่สามารถปรับให้ใส่ได้ในหลายโอกาส โครงชุดต้องมีลักษณะหลวมไม่เน้นสัดส่วนและมีความร่วมสมัย โทนสีที่เลือกใช้จะต้องเป็นโทนสีคล้ายกันทั้งชุดหรือเป็นกลุ่มสีที่ไม่ตัดกันและต้องมีเอกลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมแบบมุสลิม 3) การออกแบบแฟชั่นเครื่องแต่งกายมุสลิม ผ่านมุมมองการดำรงอยู่ของความศรัทธาและความงามสู่บริบทแฟชั่นมุสลิม มีรูปแบบเสื้อผ้า คือ เสื้อกับกางเกง เสื้อกับกระโปรง และชุดเสื้อกระโปรงติดกัน (Dress) เป็นหลัก เพื่อความคล่องตัวในการทำงาน การเดินทางในระบบขนส่งสาธารณะ ทั้งนี้จากการศึกษาวิจัยดังกล่าวสามารถสรุปได้ว่า ในการออกแบบการแต่งกายของสตรีมุสลิมในบริบทแฟชั่น ผ่านมุมมองการดำรงอยู่ของความศรัทธาและความงามสู่บริบทแฟชั่นมุสลิม มุมมองความงามสะท้อนถึงความเป็นอัตลักษณ์ของสตรีมุสลิมได้ และในทางศาสนานั้นให้ความสำคัญในการแต่งกายเป็นอย่างมาก เพื่อเป็นการปกป้องให้ผู้หญิงมีความปลอดภัย ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยค้นพบองค์ความรู้ใหม่จากการศึกษาวิจัย คือ ปัจจัยออกแบบแฟชั่นฮาลาล (Halal Factors) ปัจจัยสำหรับให้นักออกแบบนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบเครื่องแต่งกายมุสลิมในบริบทอื่น ๆ ได้ จากการศึกษา ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการนำผลวิจัยไปใช้และข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยครั้งต่อไป ว่าการเลือกกลุ่มตัวอย่าง หากมีการกำหนดเฉพาะเจาะจงช่วงอายุ จะทำให้ทราบข้อมูลของผู้บริโภคที่เฉพาะเจาะจง และในการศึกษาลวดลายปักผ้าของชาวมุสลิม หากมีการเก็บรวบรวมสืบทอดภูมิปัญญาไว้ จะเป็นฐานข้อมูลเพื่อการนำไปประยุกต์ใช้ในแบบร่วมสมัย และการศึกษาวิจัยในอนาคตควรมีการศึกษาวิจัยในพื้นที่อื่นในประเทศ ตลอดจนควรจัดให้มีการศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการแต่งกายของสตรีมุสลิมในแต่ละภูมิภาคด้วย | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ฮาลาล | th |
dc.subject | อัตลักษณ์ | th |
dc.subject | ความศรัทธา | th |
dc.subject | ความงาม | th |
dc.subject | สตรีมุสลิม | th |
dc.subject | การแต่งกาย | th |
dc.subject | Dress | en |
dc.subject | Identity | en |
dc.subject | Faith | en |
dc.subject | Beauty | en |
dc.subject | Muslim Women | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts, entertainment and recreation | en |
dc.subject.classification | Design | en |
dc.title | HALAL: Identity existence of faith and beauty to the context of Fashion Muslim | en |
dc.title | ฮาลาล : อัตลักษณ์การดำรงอยู่ของความศรัทธาและความงามสู่บริบทแฟชั่นมุสลิม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Anucha Pangkesorn | en |
dc.contributor.coadvisor | อนุชา แพ่งเกษร | th |
dc.contributor.emailadvisor | PANGKESORN_A@su.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | PANGKESORN_A@su.ac.th | |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | Decorative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
620430027.pdf | 14.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.