Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5150
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirinart KONGKAEWen
dc.contributorสิรินาถ คงแก้วth
dc.contributor.advisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.advisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:21:56Z-
dc.date.available2024-08-01T07:21:56Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5150-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1)  the school administrator’s digital leadership under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1  2)  the educational quality of school under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1  3) the relationship between the school administrator’s digital leadership and  the educational quality of school under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1. The sample of this research consisted of 80 schools under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1  with 2 respondents per school : a school director and a teacher.  The research instrument was questionnaire about the school administrator’s digital leadership,  based on the concept of Sheninger and the educational quality of school.  The statistical analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient. The results of this research were as follow:  1)  The school administrator’s digital leadership under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1, as a whole and each aspect were a high level; ranking from the highest to the lowest mean: student engagement, learning, and outcomes, communication, public relations, innovative learning spaces and environments, professional learning & growth, opportunity and branding. 2)  The educational quality of school under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 as a whole and each aspect were a high level; ranking from the highest to the lowest mean: learner centered approach process, management process and educational quality. 3)  The school administrator’s digital leadership and the educational quality of school under Chumphon Primary Educational Service Area Office 1 were moderate correlation with the .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ  1) ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต  1  2) คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต  1  3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต  1  กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 1 จำนวน 80 โรง ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 2 คน ประกอบด้วย 1) ผู้อำนวยการโรงเรียน หรือผู้รักษาราชการแทน จำนวน 1 คน   2) ครู จำนวน 1 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน ตามแนวคิดของชาร์เนนเจอร์ (Sheninger) กับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน  สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ การมีส่วนร่วมการเรียนรู้และผลลัพธ์ของผู้เรียน การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ พื้นที่การเรียนรู้และสภาพแวดล้อมที่เป็นนวัตกรรมใหม่ การเรียนรู้และการเติบโตอย่างมืออาชีพ การสร้างโอกาสและการสร้างภาพลักษณ์ ตามลำดับ 2.คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ ดังนี้ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กระบวนการบริหารและการจัดการและคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3. ภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 มีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่คล้อยตามกันอยู่ในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนth
dc.subjectคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนth
dc.subjecteducational quality of schoolen
dc.subjectdigital leadership of administratoren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleDIGITAL LEADERSHIP OF ADMINISTRATOR AND EDUCATIONAL QUALITY OF SCHOOL UNDER CHUMPHON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารกับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร  เขต 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.coadvisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.emailadvisorjee1199@yahoo.com
dc.contributor.emailcoadvisorjee1199@yahoo.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630620055.pdf5.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.