Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5291
Title: | Correspondence between Music and Surrealism Movement ความเชื่อมโยงระหว่างดนตรีและกระแสศิลปะเซอร์เรียลสิลม์ |
Authors: | Benyapa PHARUKSA เบญญาภา พารักษา Komtham Domrongchareon คมธรรม ดำรงเจริญ Silpakorn University Komtham Domrongchareon คมธรรม ดำรงเจริญ DOMRONGCHAREON_K@SU.AC.TH DOMRONGCHAREON_K@SU.AC.TH |
Keywords: | Surrealism Automatic Juxapositon Surrealism Automatic Juxapositon |
Issue Date: | 28 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The objectives of the study were (1) to examine and compile theoretical methodologies of Surrealist music and (2) to examine and analyze the correspondence between music and the Surrealism Art Movement in The Rite of Spring (Le Sacre du printemps), 1913 composed by Igor Stravinsky within Surrealist music’s frameworks. From research’s observation, the Modern Art Movement during the twentieth century appeared the music category within a movement such as the Expressionism Art Movement, which has the term expressionist music that connects to Arnold Schoenberg. (Anon, 2014) which is opposite to the Surrealism Art Movement. Although “Surrealist Music” has theoretical methodologies and there are a few composers who relate to this movement. But the classic music circle never established Surrealist Music. (Van Den Buys, C.,2019) The researcher would like to investigate three theoretical methodologies from the specialists, namely Professor Max Paddison (Paddison, 1993), Philosopher Theodor W. Adorno (Adorno, 2002), and Author Guillaume Apollinaire (Ellison, 2021) to analyze in the compositions that were mentioned to be Surrealist Music from the specialist’s perspective and to analyze The Rite of Spring’s composition. งานวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาและรวบรวมแนวทางความคิดและแนวทางปฏิบัติของดนตรีเซอร์เรียลลิสท์ และ (2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความเชื่อมโยงระหว่างดนตรีกับกระแสศิลปะเซอร์เรียลลิสม์ในผลงานการแสดงบัลเล่ต์ The Rite of Spring (Le Sacre du printemps) 1913 ของนักประพันธ์ชาวรัสเซีย อีกอร์ สตราวินสกี (Igor Stravinsky) ภายในใต้ความคิดเห็นและหลักการทฤษฎีที่กล่าวถึงดนตรีเซอร์เรียลลิสท์ จากการสังเกตพบว่า กระแสศิลปะโมเดิร์นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการจัดหมวดหมู่ผลงานศิลปะในบริบทดนตรี ตัวอย่างเช่น กระแสศิลปะเอ็กเพลสชั่นนิสม์ (Expressionism) มีการจัดหมวดหมู่ผลงานศิลปะประเภทดนตรี เรียกว่า ดนตรีเอ็กเพลสชั่นนิสท์ (Expressionist Music) ซึ่งมีการระบุแนวทางความคิดและแนวทางปฏิบัติการประพันธ์ไว้อย่างชัดเจน และนักประพันธ์ อาร์นอล์ด เชินเบิร์น (Arnold Schoenberg) ถูกกล่าวเชื่อมโยงกับกระแสศิลปะเอ็กเพลสชั่นนิสม์ (Anon, 2014) แต่ในทางกลับกัน กระแสศิลปะเซอร์เรียลลิสม์ไม่มีการจัดหมวดหมู่ผลงานศิลปะในบริบทดนตรี แม้ว่าดนตรีเซอร์เรียลลิสท์ (Surrealist Music) มีการระบุแนวทางความคิดและแนวทางปฏิบัติการประพันธ์ รวมทั้ง ปรากฏการเชื่อมโยงกับนักประพันธ์ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่กระนั้น วงการดนตรีคลาสสิกไม่มีการสถาปนา ดนตรีเซอร์เรียลลิสท์เป็นประเภทดนตรี เหมือนอย่างดนตรีเอ็กเพลสชั่นนิสท์ (Van Den Buys, C., 2019) จึงเป็นที่มาและความสำคัญของการศึกษาและรวบรวมหลักการทฤษฎีของดนตรีเซอร์เรียลลิสท์ของ ศาสตราจารย์ แม็กซ์ แพดดิสัน (Paddison, 1993) นักปรัชญา ธีโอดอร์ อดอร์โน (Adorno, 2002) และนักเขียนอาวอง-การ์ด กีโยม อาปอลีแนร์ (Ellison, 2021) มาวิเคราะห์บทประพันธ์ที่ได้รับการกล่าวเป็น ดนตรีเซอร์เรียลลิสท์ จากความคิดเห็นของทั้ง 3 ผู้เชี่ยวชาญ และผลงานการแสดงบัลเล่ต์ The Rite of Spring |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5291 |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
651020007.pdf | 3.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.