Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5378
Title: | Reflections of Migration in the Works of Contemporary East Asian Artists บทสะท้อนแห่งการอพยพย้ายถิ่นในผลงานศิลปะของศิลปินเอเชียตะวันออกร่วมสมัย |
Authors: | Nattanicha BUACHANDANG ณัฐณิชา บัวจันทร์แดง Piyasaeng Chantarawongpaisarn ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล Silpakorn University Piyasaeng Chantarawongpaisarn ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล pisaeng@gmail.com pisaeng@gmail.com |
Keywords: | วัตถุสำเร็จรูป วัสดุเก็บตก การอพยพย้ายถิ่น ศิลปินเอเชียตะวันออก ศิลปะร่วมสมัย Ready-made object Found object Migration East Asian artist Contemporary art |
Issue Date: | 22 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This article aimed to study the use of Ready-made objects and Found objects to convey the issue of migration in the artworks of nine contemporary East Asian artists, namely: Ai Weiwei, Hung Liu/ Liu Hong, Peng Wu/ Wu Peng, Kim Sooja, Do Ho Suh/ Suh DoHo, Kyungmi Shin/ Shin Kyungmi, Yu-Wen Wu/ Wu Yuwen, Shiota Chiharu and Hiraki Sawa By comparing the contents of works of art with Lavenstein's migration law, these five laws are: Primitive migration, Forced migration, Impelled migration, Free migration and Mass migration. Through comparative study, we can define its scope from the substantive content reflected in the work. The three themes are: 1) Ready-made objects and Found objects related to history. 2) Ready-made objects and Found objects evoke nostalgia and 3) Ready-made objects and Found objects convey social criticism. From the research study, it was found that Ready-made objects and Found objects related to history often contain content about primitive migration and forced migration. Ready-made objects and Found objects evoke nostalgia and often contain content about Free migration and Mass migration and Ready-made objects and Found objects convey social criticism and often contain content covering all five types of migration. In addition, some of the Ready-made objects and Found objects are also linked to the specific social contexts and cultural traditions of each East Asian artist. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้วัสดุสําเร็จรูป และวัสดุเก็บตกเพื่อสื่อถึงประเด็นการอพยพย้ายถิ่นในผลงานศิลปะของศิลปินเอเชียตะวันออกร่วมสมัย 9 คน ได้แก่ อ้ายเว่ยเว่ย หลิวหง อู๋เผิง คิมซูจา ซอโดโฮ ชินคยองมี อู๋อวี้เหวิน ชิโอะตะ จิฮะรุ และฮิระคิ สะวะ โดยการเปรียบเทียบเนื้อหาของผลงานศิลปะเข้ากับกฎการย้ายถิ่นของราเวนสไตน์ (Ravenstein's laws of migration) ทั้ง 5 แบบ คือการอพยพย้ายถิ่นแบบดั้งเดิม การอพยพย้ายถิ่นโดยถูกบังคับ การอพยพย้ายถิ่นโดยถูกบีบคั้น การอพยพย้ายถิ่นโดยเสรี และการอพยพย้ายถิ่นแบบชนจํานวนมาก เมื่อศึกษาเปรียบเทียบแล้วผู้วิจัยสามารถกําหนดขอบเขตจากเนื้อหาสาระที่สะท้อนในผลงานไว้ได้ 3 หัวข้อ ได้แก่ 1)วัสดุที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ 2)วัสดุที่สื่อถึงความโหยหาอดีต และ3)วัสดุที่สื่อถึงการวิจารณ์สังคม จากกาศึกษาวิจัยค้นพบว่าผลงานที่ใช้วัตถุสําเร็จรูป และวัสดุเก็บตกที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์มักจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับการอพยพแบบดั้งเดิม และการอพยพย้ายถิ่นโดยถูกบังคับ ผลงานที่ใช้วัตถุสําเร็จรูป และวัสดุเก็บตกที่สื่อถึงความโหยหาอดีตมักจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับลักษณะของการอพยพโดยเสรี และลักษณะของการอพยพแบบชนจํานวนมาก ผลงานที่ใช้วัตถุสําเร็จรูป และวัสดุเก็บตกที่สื่อถึงการวิจารณ์สังคมมักจะมีเนื้อหาที่ครอบคลุมลักษณะการอพยพทั้งห้าแบบ นอกจากนั้นแล้ววัสดุสําเร็จรูป และวัสดุเก็บตกบางชนิดยังเชื่อมโยงไปถึงบริบททางสังคม และประเพณีวัฒนธรรมเฉพาะของศิลปินเอเชียตะวันออกแต่ละประเทศอีกด้วย |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5378 |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630120054.pdf | 16.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.