Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/683
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ศรีสมบัติ, โชคดี | - |
dc.contributor.author | Srisombat, Chokdee | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T02:47:31Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T02:47:31Z | - |
dc.date.issued | 2559-01-07 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/683 | - |
dc.description | 55054202 ; สาขาวิชาสถาปัตยกรรม -- โชคดี ศรีสมบัติ | en_US |
dc.description.abstract | สถาปัตยกรรม นอกเหนือจากทำหน้าที่ใช้งานเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยแล้ว ยังได้พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อตอบสนองสุนทรียภาพทางอารมณ์ของมนุษย์มาอย่างยาวนาน สุนทรียภาพที่มนุษย์รับรู้ได้นั้นเกิดจากการได้ชื่นชมหรือสัมผัส เช่นเดียวกับการชื่นชมงานศิลปะ สำหรับ “สัดส่วน” ในงานสถาปัตยกรรมเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่สร้างความโดดเด่นและสร้างสุนทรียภาพทางการมองได้ โดยที่สัดส่วนได้รับการพัฒนาหลากหลายรูปแบบทั้งนำมาใช้กับศิลปะและสถาปัตยกรรม สัดส่วนที่ได้รับความนิยมอย่างมากตั่งแต่ยุคอดีตและยังได้รับความนิยมถึงปัจจุบันนั่นคือ“ทฤษฎีสัดส่วนทองคำ” ซึ่งสัดส่วนทองคำเป็นทฤษฎีทางคณิตศาสตร์และได้รับความนิยมในหลายศาสตร์วิชา รวมถึงสถาปัตยกรรมด้วย ในสถาปัตยกรรมที่มีชื่อเสียงและได้รับการยอมรับเรื่องความงามในหลายแห่งทั่วโลกมักพบความสอดคล้องเกี่ยวกับสัดส่วนทองคำแฝงอยู่ สำหรับงานศิลปะและสถาปัตยกรรมของไทยเป็นหนึ่งในชาติที่มีเอกลักษณ์และความเป็นมายาวนาน เกิดจากภูมิปัญญาความสามารถของช่างไทยที่คิดรูปแบบต่างๆขึ้นมา ในการศึกษาครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาหาความสอดคล้องของสัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมไทยกับสัดส่วนทองคำ เพื่อหาความสัมพันธ์จากวิธีการที่เป็นสากล นำมาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีเดียวกันกับ George Doczi ด้วยการใช้การวิเคราะห์ผ่าน กราฟรูปคลื่น (Wave Diagram) กราฟเส้น(Line Graph) และศึกษาแนวคิดและประวัติความเป็นมา สำหรับสถาปัตยกรรมที่นำมาวิเคราะห์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ สถาปัตยกรรมไทยประเพณี และ สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย ผลการศึกษาในครั้งนี้จะเป็นการเปรียบเทียบถึงความงามของสถาปัตยกรรมไทยกับความงามอย่างสากลเพื่อเป็นข้อบ่งชี้ในความสามารถและรสนิยมของช่างไทยอีกทั้งจะได้รู้ถึงค่าเฉลี่ยสัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมไทยอีกด้วย “Architecture” In addition to the architecture used to serve as living it. It has constantly evolved to meet the aesthetics of human emotions for so long. Aesthetics that people can perceive that it is due to be admired or touch. As well as art appreciation. "Proportionality" in architecture is one component that create a distinctive and create an aesthetic look. The ratio has been developed and applied to various form of art and architecture. The proportion has been very popular since the past and the present that has gained popularity is the "golden section theory” The study is intended to study the proportion of Thai architecture consistent with the proportion of Golden section. The method is universal. Analyzed by Gyorge Doczi with the analysis through graphical include 1. Wave Diagram 2.Line Graph 3.concepts and 4.history. For architectural analysis is divided into two categories: architecture, Traditions Thai Architecture and Contemporary Thai Architecture. The results of this study will compare the beauty of Thai architecture with aesthetic architecture internationally to indicate the abilities and fancy of Thai architect and know the average proportion in Thai architecture. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | สัดส่วนทองคำ | en_US |
dc.subject | ความสอดคล้อง | en_US |
dc.subject | องค์ประกอบ | en_US |
dc.subject | GOLDEN SECTION | en_US |
dc.subject | HARMONY | en_US |
dc.subject | CONFIGURATION | en_US |
dc.title | สัดส่วนในงานสถาปัตยกรรม : สัดส่วนทองคำกับความสอดคล้องใน งานสถาปัตยกรรมไทยประเพณีและสถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัย | en_US |
dc.title.alternative | PROPORTION IN ARCHITECTURE: THE HARMONY OF GOLDEN SECTION IN TRADITIONAL THAI ARCHITECTURE AND CONTEMPORARY THAI ARCHITECTURE | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
55054202 โชคดี ศรีสมบัติ.pdf | 17.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.