Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2257
Title: THE EFFECTS OF FLIPPED CLASSROOM TEACHING WITH WEB APPLICATION USING CASE BASED LEARNING ON PROBLEM-SOLVING SKILLS IN COMPUTER PROGRAMMING OF TENTH GRADE STUDENT
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน ที่ส่งผลต่อทักษะการแก้ปัญหาการเขียนโปรแกรมภาษาซี ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกรับใหญ่ว่องกุศลกิจพิทยาคม
Authors: Adisorn PAKCHALIN
อดิศร ภัคชลินท์
Siwanit Autthawuttikul
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล
Silpakorn University. Education
Keywords: ห้องเรียนกลับด้าน
เว็บแอปพลิเคชัน
กรณีศึกษา
การแก้ปัญหา
FLIPPED CLASSROOM
WEB APPLICATION
PROBLEM SOLVING
CASE BASED LEARNING
Issue Date:  12
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The purposes of this research were: 1) to study the student’s abilities in problem solving skill that learned by flipped classroom teaching with web application using case-based learning.   2) to compare pretest and posttest of learning achievement on flipped classroom teaching with web application using case-based learning. 3) to study the learning behaviors of samples. 4) to study students’ satisfaction on flipped classroom teaching with web application using case-based learning. The research samples used in this study were tenth grade at Krabyai Vongkusolkit Phitthayakhom School studying in first semester of academic year 2018. The samples were a classroom of 40 students by simple random sampling. The research instruments were 1) a structure interview form, 2) a lesson plans of flipped classroom teaching with web application using case-based learning, 3) Google Classroom web application, 4) a test of problem-solving skill in C computer programming, 5) the learning achievement test for C computer programming, 6) the behavior in flipped classroom teaching with web application using case-based learning observation form, and 7) questionnaire on student’s satisfaction on flipped classroom teaching with web application using case-based learning. The statistics used in this study were percentage, average scores standard deviation, reliability scores, validity scores, and the t-test dependent. The results of this research were as follow: 1) The student’s problem solving skill of C computer programming was excellent level ( average score = 16.75), 2) Posttest of the learning achievement of flipped classroom teaching with web application using case-based learning was higher than pretest at .01 level of significance, 3) The behaviors of students taught via flipped classroom teaching with web application using case-based learning was excellent (average score = 14.63), and 4) The student's satisfaction for flipped classroom teaching with web application using case-based learning overall were at a good level ( average score = 3.98, S.D. = 0.74)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียน จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้วิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษาผ่านเว็บแอปพลิเคชัน   2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน 3) ศึกษาพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียนจากการจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน 4) ศึกษาความพีงพอใจของนักเรียนจากการจัดการเรียนการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนกรับใหญ่ว่องกุศลกิจพิทยาคม ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2561 จำนวน 1 ห้องเรียน ทั้งหมด 40 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน 3) เว็บแอปพลิเคชัน Google Classroom รายวิชาภาษาซี 4) แบบวัดทักษะการแก้ปัญหาวิชาภาษาซี 5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาซี 6) แบบบันทึกพฤติกรรมการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน 7) แบบสอบถามความความพีงพอใจที่มีต่อการเรียนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเที่ยงตรง ค่าความยากง่าย ค่าความเชื่อมั่น และการทดสอบค่าที (t-test แบบ dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน อยู่ในระดับ ดีมาก ( ค่าเฉลี่ย = 16.75) 2) ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 13.00 คะแนนและคะแนนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.23 คะแนน 3) พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของนักเรียน หลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 14.63 อยู่ในระดับ ดีมาก 4) ความความพีงพอใจของนักเรียนหลังเรียนด้วยวิธีสอนแบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับกรณีศึกษา ผ่านเว็บแอปพลิเคชัน พบว่า มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย = 3.98 และ S.D. = 0.74)
Description: Master of Education (M.Ed.)
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2257
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57257316.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.